ที่ | โครงการ/กิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
1. | โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนห้วยน้ำใส อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี | ผศ.ชุติรัตน์ เจริญสุข และสาขาวิชาการตลาด |
2. | โครงการจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การพัฒนาเศรษฐกิจท่องเที่ยวชุมชน | ผศ.ดร.สัจจา ไกรศรรัตน์ |
3. | โครงการยกระดับทรัพยากรในชุมชนตำบลเจ็ดเสมียนเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาด | ผศ.อัจฉรียา โชติกลาง |
4. | โครงการจัดการภูมิปัญญาจากพืชพื้นถิ่นสู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร (Gastronomy Tourism) |
ดร.ทัศนีย์ นาคเสนีย์ และสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการ |
5. | โครงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : ส่งเสริมการตลาดชุมชน ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล | ดร.พนารัตน์ แสงวิจิตร และสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล |
6. | โครงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : ตลาดชุมชนวิถีใหม่ | ดร.ปิรันธ์ ชิณโชติ และสาขาวิชาการจัดการทั่วไป |
7. | โครงการส่งเสริมการเลี้ยงจิ้งหรีดเชิงพาณิชย์ เพื่อผลิตอาหารโปรตีนแนวใหม่ตามมาตรฐานความปลอดภัย | ดร.รัชนิดา รอดอิ้ว |
8. | โครงการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร พื้นที่อำเภอวัดเพลง | ดร.รัชนิดา รอดอิ้ว |
9. | โครงการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านตะโกล่าง อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี |
ดร.กนกวรรณ แสนเมือง |
10. | โครงการยกระดับรายได้ชุมชนกระเหรี่ยงผ่านการพัฒนาสินค้าข้าวไร่ในเขตพื้นที่ชายแดน อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี สู่การตลาดออนไลน์แบบมีส่วนร่วมของชุมชน |
ดร.รัชนิดา รอดอิ้ว |
11. | โครงการจัดทำหลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนาทางวิชาการและวิชาชีพ และสะสมในระบบธนาคารหน่วยกิต(Credit Bank) “สมรรถนะดิจิทัล” (โดยทำความร่วมมือ(MOU)กับ บริษัทแอ็ดด้า ฟุตแวร์ (ไทยแลนด์) จำกัด |
ดร.พนารัตน์ แสงวิจิตร และสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทัล |
12. | โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจากเห็ดหูหนูดำ ตำบลหินกอง อ.เมือง จ.ราชบุรี ภายใต้ชื่อแบรนด์แขกโมเดล |
ผศ.สุนิสา โพธิ์พรม |
13. | โครงการพัฒนาช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์และบริการท่องเที่ยว ของชุมชนตำบลนครชุมน์ ผ่านเทศกาลงานประเพณี และกิจกรรมพิเศษ กินอยู่ดูมอญเมืองราชบุรี |
ผศ.ดร.สัจจา ไกรศรรัตน์ |
14. | โครงการพัฒนาช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ ภายใต้โครงการ U2T ตำบลคุ้งพะยอม อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ผ่านการออกแบบคาเฟ่ชุมชน |
ผศ.ดร.สัจจา ไกรศรรัตน์ |
15. | โครงการยกระดับตราสัญลักษณ์สินค้า และฉลากบรรจุภัณฑ์ต้นแบบสินค้าของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ตำบลจอมประทัด อำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี |
ดร.รัชนิดา รอดอิ้ว |
16. | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์บาสบอม ตำบลเจ็ดเสมียน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี และโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาฉลาก และบรรจุภัณฑ์ต้นแบบบาสบอม ให้มีมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์ |
ผศ.อัจฉรียา โชติกลาง |
17. | โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเพื่อสร้างความยั่งยืนของชุมชนเชิง พื้นที่ด้วยการสร้างมูลค่าและคุณค่าเพิ่มให้สินค้าเกษตรเพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์สู่การพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ด้วยแนวคิด “จอมบึง Happy Model” |
ดร.ทัศนีย์ นาคเสนีย์ |
18. | โครงการยุวชนอาสาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น : การยกระดับการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวที่เป็น อัตลักษณ์ของจังหวัดในยุคดิจิทัล กรณีศึกษาถ้ำเขาบิน ตำบลหินกอง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี |
ผศ.ดร.นงลักษณ์ เพิ่มชาติ และคณะวิทยาการจัดการ |
ปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มีพื้นที่บริการวิชาการทั้งหมด 6 อำเภอ ในจังหวัดราชบุรี และ 1 หน่วยงานภาคเอกชน นอกจังหวัดราชบุรี ดังนี้
1. อำเภอเมืองราชบุรี (ตำบลหินกอง , ถ้ำเขาบิน) 2. อำเภอจอมบึง (ตำบลจอมบึง) 3. อำเภอวัดเพลง (ตำบลจอมประทัด) 4. อำเภอบ้านโป่ง (ตำบลนครชุมน์ , ตำบลคุ้มพะยอม) 5. อำเภอโพธาราม (ตำบลเจ็ดเสมียน , ตำบลเตาปูน) 6. อำเภอสวนผึ้ง ( ชุมชนตลาดโอ๊ะป่อย , ชุมชนห้วยน้ำใส , ชุมชนบ้านตะโกล่าง) 7. บริษัทแอ็ดด้า ฟุตแวร์ (ไทยแลนด์) จำกัด กรุงเทพมหานคร
|
||